
ประจําเดือนไม่มา ปวดท้อง ตกขาว
ประจําเดือนไม่มา ปวดท้อง ตกขาว – ปวดประจำเดือน อาการที่ผู้หญิงแทบทุกคนคุ้นเคยกันดี บางรายปวดไม่มาก..แค่ทานยาก็หาย แต่ในบางราย ปวดมากจนถึงขั้นไม่สามารถใช้ชีวิตประจำวันตามปกติได้ ซึ่งระดับอาการปวดรุนแรงนี้ไม่ใช่สิ่งที่ควรละเลย แต่อาจเป็นสัญญาณเตือนของภาวะมดลูกผิดปกติ
มดลูก เกี่ยวข้องกับ “อาการปวดประจำเดือน” อย่างไร
ประจําเดือนไม่มา ปวดท้อง ตกขาว เพราะประจำเดือนเกิดจากการลอกตัวของเยื่อบุโพรงมดลูก โดยจะมีสารชนิดหนึ่งชื่อว่า Prostaglandins มีหน้าที่ในการกระตุ้นให้มดลูกเกิดการบีบและคลายตัวเป็นจังหวะ ซึ่งการบีบคือสาเหตุที่ทำให้ผู้หญิงรู้สึกปวดท้องเมื่อมีประจำเดือน รวมถึงระดับความปวดที่มากน้อยแตกต่างกันด้วย
ปวดประจำเดือนมากแบบไหน..ที่อาจไม่ใช่เรื่องปกติ
การปวดท้องประจำเดือนอาจดูเหมือนเรื่องปกติสำหรับผู้หญิง แต่ถ้ารอบเดือนไหน..ระดับอาการปวดมากกว่าปกติ บางรายถึงขั้นต้องหยุดเรียนหรือหยุดงาน ร่วมกับการมีประจำเดือนเป็นลิ่มเลือด
อาการเตือนร่วม..ที่บอกถึงโอกาสเสี่ยง “มดลูกผิดปกติ”
- ประจำเดือนมาไม่ปกติ มามากบ้างน้อยบ้าง หรือเลื่อนออกไป บางครั้งไม่มาเลย 2-3 เดือน เพราะฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอรโรนทำงานไม่ปกติ
- มีอาการตกขาวตลอดทั้งเดือน ปกติผู้หญิงจะมีอาการตกขาวก่อนมีประจำเดือนประมาณ 2-3 วัน และหลังจากหมดประจำเดือนก็จะเป็นปกติ หากมีอาการตกขาวตลอด..นั่นแสดงว่ามีความผิดปกติเกิดขึ้นแล้ว
- ช่องคลอดมีกลิ่นผิดปกติอาจเพราะมีของเสียสะสมภายในมดลูกอยู่นั่นเอง
- ปัสสาวะบ่อยมาก หรือกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ และเมื่อแรงเบ่งก็ไม่สามารถทำได้อาจเป็นเพราะมดลูกเคลื่อนต่ำลงมากดทับท่อปัสสาวะทำให้ปวดปัสสาวะบ่อยๆ ซึ่งหากมีอาการดังกล่าว อาจเกิดจากมดลูกผิดปกติ
- ภาวะมีบุตรยาก หรือตั้งครรภ์แล้วแท้งบ่อยๆ
การปวดประจำเดือน ไม่เพียงเป็นอาการของภาวะมดลูกผิดปกติ แต่ยังเป็นสัญญาณเตือนโรคทางนรีเวชร้ายแรง
ดังนั้น หากมีอาการปวดที่รุนแรง รวมถึงลักษณะของประจำเดือนผิดปกติ ก็ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อวางแผนการรักษา
อาการปวดประจำเดือนคืออะไร
ผู้หญิงจำนวนมากมีอาการปวดท้องก่อนมีประจำเดือน 1-2 วัน และระหว่างมีประจำเดือนในช่วงวันแรกๆ อาการปวดประจำเดือน (dysmenorrhea) มีตั้งแต่อาการปวดหน่วงหรือปวดเกร็งเล็กน้อย ไปจนถึงอาการปวดขั้นรุนแรงบริเวณท้องน้อยและอาจมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น ปวดหลังด้านล่าง คลื่นไส้อาเจียน เหงื่อออก ท้องเสียหรือท้องผูก ท้องอืด เวียนศีรษะและปวดศีรษะ เป็นต้น
สาเหตุของการปวดประจำเดือน
โดยเฉลี่ยทุกๆ 28 วัน หากไข่ไม่มีอสุจิมาผสม เยื่อบุโพรงมดลูกจะหลุดลอกออกมาเป็นประจำเดือน อาการปวดประจำเดือนเกิดจากสารที่ออกฤทธิ์คล้ายฮอร์โมน ชื่อว่า โพรสตาแกลนดิน (prostaglandin) ซึ่งก่อตัวขึ้นที่เยื่อบุโพรงมดลูกระหว่างมีประจำเดือน โพรสตาแกลนดินทำให้กล้ามเนื้อบีบตัวและหดเกร็งคล้ายกับอาการเจ็บปวดขณะคลอดบุตร นอกจากนี้ยังทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ ท้องเสีย หากร่างกายหลั่งสารนี้ในปริมาณมากจะยิ่งเพิ่มความรุนแรงของอาการบีบรัด ทำให้รู้สึกปวดประจำเดือนยิ่งขึ้น
ประเภทของอาการปวดประจำเดือน
อาการปวดประจำเดือนแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทด้วยกัน
- ปวดประจำเดือนประเภทปฐมภูมิ (Primary Dysmenorrhea) เป็นอาการปวดประจำเดือนที่พบบ่อยที่สุด สาเหตุมักเกิดจากการที่เยื่อบุโพรงมดลูกผลิตสารโพรสตาแกลนดินมากเกินไป
- ปวดประจำเดือนประเภททุติยภูมิ (Secondary Dysmenorrhea) เกิดจากภาวะผิดปกติของมดลูกหรืออวัยวะสืบพันธุ์อื่นๆ เช่น
-
- เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ (endometriosis) เกิดจากเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญนอกมดลูก ซึ่งเมื่อเจริญผิดที่แต่ยังทำหน้าที่สร้างประจำเดือนเหมือนเดิม ทำให้เลือดประจำเดือนมีสีแดงคล้ำ ปวดท้องน้อยอย่างรุนแรงและมีบุตรยาก
- เยื่อบุมดลูกเจริญภายในกล้ามเนื้อมดลูก (Adenomyosis) ผู้ป่วยจะมีอาการปวดประจำเดือนอย่างมาก และ/หรือ เลือดประจำเดือนมากและยาวนานกว่าปกติ
- เนื้องอกมดลูก (uterine fibroids) มักไม่ใช่เนื้อร้าย ขนาดมีตั้งแต่เล็กมากไปจนถึงขนาดใหญ่ หากมีขนาดใหญ่ มักทำให้มีเลือดประจำเดือนออกมามากหรือประจำเดือนกระปริบกระปรอยนานเป็นสัปดาห์ พร้อมกับอาการปวดประจำเดือนหรือปวดหลังส่วนล่างแบบเรื้อรัง
- ภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบ (Pelvic Inflammatory Disease) เป็นการติดเชื้อบริเวณระบบสืบพันธุ์ในเพศหญิง ส่วนใหญ่เกิดจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หากไม่รักษาให้หายขาด ทำให้เกิดการอักเสบและปวดท้องระหว่างมีประจำเดือนได้
- ภาวะปากมดลูกตีบ (Cervical stenosis) เกิดจากปากมดลูกแคบเกินไป ทำให้เลือดประจำเดือนไหลได้ช้าแต่หากรูปิดสนิท จะทำให้ของเหลวคั่งค้างภายในโพรงมดลูก ทำให้เกิดอาการปวดท้องมากและเรื้อรัง
การป้องกันและบรรเทาอาการปวดประจำเดือน
หากมีอาการปวดประจำเดือน ผู้ป่วยสามารถดูแลรักษาตัวเองได้โดย
- ใช้กระเป๋าน้ำร้อนประคบท้องน้อยและหลัง
- อาบน้ำอุ่น
- ใช้เทคนิคการผ่อนคลาย เช่น โยคะหรือนั่งสมาธิ
- รับประทานยาต้านการอักเสบชนิดไม่มีสเตียรอยด์ (NSAIDs) ควรรับประทานเมื่อเริ่มมีอาการปวดหรือก่อนมีอาการปวด การรับประทานยาแก้ปวดอาจมีผลข้างเคียง ดังนั้นควรใช้เมื่อมีอาการปวดอย่างรุนแรงเท่านั้น
- พักผ่อนให้เพียงพอ
- ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
- รับประทานผักและผลไม้ ลดปริมาณอาหารที่มีไขมัน เกลือ เครื่องดื่มผสมคาเฟอีน เครื่องดื่มแอลกอฮอล์และขนมหวาน
เมื่อไหร่ที่ควรไปพบแพทย์
สำหรับผู้หญิงส่วนใหญ่อาการปวดประจำเดือนเป็นเรื่องปกติ แต่หากมีอาการดังต่อไปนี้ อาจเป็นสัญญาณบ่งบอกถึงโรคภัยที่ร้ายแรงกว่าอาการปวดประจำเดือนทั่วไป
- รับประทานยาแล้วแต่ยังไม่หายปวด
- อาการปวดประจำเดือนแย่ลงเรื่อยๆ
- มีอายุมากกว่า 25 ปีและรู้สึกปวดประจำเดือนอย่างรุนแรงเป็นครั้งแรก
- มีไข้พร้อมปวดประจำเดือน
- เลือดประจำเดือนไหลออกมามากว่าปกติ โดยต้องเปลี่ยนผ้าอนามัยทุกชั่วโมง
- รู้สึกปวดท้องน้อยถึงแม้ไม่มีประจำเดือนก็ตาม
- มีอาการติดเชื้อ เช่น ตกขาวมีกลิ่น อาการคันบริเวณปากช่องคลอด เลือดประจำเดือนมีสีแปลกไปจากปกติ
- มีบุตรยาก
สมุนไพรแก้ตกขาว ที่สามารถช่วยคุณได้
สมุนไพรแก้ตกขาว เป็นหนึ่งในกลุ่มสมุนไพรที่พบมากเป็นอับดับแรกๆ ซึ่งมีหลากหลายชนิดให้เลือกใช้ สำหรับบทความนี้เราได้รวบรวมมาฝากนับสิบชนิด ดังต่อไปนี้
1.ถั่วเหลือง ช่วยปรับฮอร์โมนเพศหญิง ฟื้นฟูผิวพรรณให้สดใส เต่งตึงอ่อนกว่าวัยอีกครั้ง
2.ว่านหางจระเข้ ช่วยทำให้ช่องคลอดไม่แห้ง เหมาะสำหรับคุณแม่หลังคลอดและวัยทอง
3.ซิงค์ เสริมธาตุเหล็กต่อการสร้างเม็ดเลือด ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
4.พริกไทยดำ กระชับมดลูก ฟื้นฟูความเสียหาย ของเซลล์ในร่างกาย
5.ตังกุย ลดอาการตกขาว แก้ไขปัญหาตกขาวผิดปกติ และลดกลิ่นไม่พึงประสงค์
ตัวช่วยง่ายๆสำหรับผู้ที่มีตกขาวเยอะกับผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ
เพราะเราเข้าใจ ถึงปัญหาภายใน สุดลับของผู้หญิง ผู้หญิงจำนวนไม่น้อย ที่ต้องเจอกับปัญหา ช่องคลอดไม่กระชับ มีกลิ่นน้องสาว จนสามีเมิน ทำให้เกิดปัญหา เรื่องบนเตียง รวมไปถึงอาการตกขาว ที่มาไม่ปกติ และทรมานกับ อาการปวดท้อง ประจำเดือน ฮอร์โมนเปลี่ยนแปลง ได้ง่าย เดี๋ยวอารมณ์ดี เดี๋ยวอารมณ์ร้าย เราจึงได้คิดค้น สูตรอาหารเสริมมา เพื่อช่วยแก้ไขปัญหา ที่เกิดขึ้น จนได้สูตรสมุนไพร 5 ชนิด ที่ช่วยกระชับ ช่องคลอด ลดตกขาว ลดอาการปวดท้อง ประจำเดือน พร้อมปรับสมดุล ของฮอร์โมน คืนความสาว ความอ่อนเยาว์ ให้คุณใหม่ อีกครั้ง
-ความกระชับ ช่วยกระชับช่องคลอด ทำให้มดลูกบีบตัวได้ดี เพิ่มการไหลเวียนของโลหิต
-ปรับสมดุลฮอร์โมน ช่วยปรับสมดุลฮอร์โมนผู้หญิง โดยเฉพาะวัยทอง และคุณแม่หลังคลอดหรือกำลังให้นมบุตร
-ลดอาการปวดท้องประจำเดือนและการตกขาว ช่วยลดอาการปวดท้องประจำเดือนได้เป็นอย่าง
ดีและลดตกขาวผิดปกติ ตกขาวสีเขียว สีเหลืองปนเลือด พร้อมลดกลิ่นไม่พึงประสงค์
-ผิวพรรณ ช่วยทำให้ผิวพรรณผ่องใส ดูสุขภาพดี ผิวเต่งตึง ไม่หย่อนคล้อย ลดริ้วรอยก่อนวัย
วิธีการทาน Dong-Hee เพื่อสุขภาพภายในที่ดีจนคุณรู้สึกได้
*** เพียงทานวันละ 2 เม็ด ก่อนนอน ตอนท้องว่างเพื่อการดูดซึมที่ดีของสมุนไพร
สามารถทานต่อเนื่องเป็นประจำทุกวันได้ไม่เป็นอันตราย
ปริมาณ 15 แคปซูล ต่อหนึ่งซอง
เลขที่จดแจ้ง 1-5499-00494-42-7 ปลอดภัย ไม่เป็นอันตรายแน่นอน
ติดต่อสั่งซื้อสินค้าได้ที่ Dong Hee ดงฮี ตกขาว
หรือ Line @dong-hee
กลับสู่หน้าหลัก ตกขาว
Recent Comments